วันอังคารที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556

Studies on CALL in the Thai Context

 การเรียนโดยอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเรียนภาษาในบริบทของไทยความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเกี่ยวกับเทคโนโลยีในปี  1980  โดยมีการสร้างทั้งสิ่งที่คาดหวังและสิ่งที่ต้องการไว้บนคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ด้วยความหวังที่จะปรับปรุงความชำนาญ  ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยให้ดีขึ้น การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาเหล่านี้ในสิ่งแวดล้อมของไทยนั้น มีความสอดคล้องกันโดยเน้นความสำคัญของ CALL และการสอนภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ   ประโยชน์ของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา โดยเฉพาะมันช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่มีอิสรภาพ แต่อย่างไรก็ตาม มีบางปัญหาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษาเกิดขึ้น เช่น เวลาที่ใช้ในการโหลดโปรแกรมจะเป็นปัญหาใหญ่สำหรับนักเรียน ในขณะที่อาจารย์ก็มองเห็นว่า การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษานั้น เป็นข้อเสียเปรียบที่สุดสำหรับพวกเขา
 

สรุปเกี่ยวกับ The Difficulties and Challenges of Teachers' Integrating Computer Assisted Instruction into Teaching

ประวัติโดยย่อของ CALL

1.Behaviorist CALL  เริ่มใช้สอนตั้งแต่ 1960 และ 1970  เป็นการเรียนการสอนแบบฝึกทำซ้ำๆเพื่อเป็นการกระตุ้นในการรับข้อมูล  ซึ่งตัวโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นติวเตอร์  มีการพัฒนาเป็นระบบPLATO  เป็นโปรแกรมการสอนในคอม  PLATOทำงานด้วยฮาร์ดแวร์พิเศษซึ่งประกอบด้วยคำศัพท์  อธิบายหลักไวยากรณ์โดยย่อและแปลภาษา
           2.Communicative CALL  จะเน้นวิธีการสอนการสื่อสารเป็นสำคัญ  เริ่มต้นตั้งแต่ปี1970และช่วงต้น1980  communicative CALLช่วงแรกๆจะทำหน้าที่เป็นติวเตอร์  เพื่อให้นักเรียนมีตัวเลือก  ควบคุมและผสมผสานเข้าด้วยกัน  
         3.Integrative CALL  เป็นที่รู้จักในช่วง 1980 และช่วงต้น1990  เริ่มบูรณาการทักษะต่างๆไม่ว่าจะเป็นการฟัง  การพูด  การเขียน  และการอ่าน  เทคโนโลยีมีบทบาทในกระบวนการเรียนมายิ่งขึ้น  นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากสิ่งแวดล้อมต่างๆและสามารถสืบหาข้อมูลได้อย่างกว้างโดยผ่านเครือข่ายการสื่อสาร

สรุปเกี่ยวกับ Computer Assisted Learning : A Helpful Approach in Learning English

สรุปเกี่ยวกับ Computer  Assisted  Learning :  A  Helpful  Approach  in  Learning  English

การสำรวจถึงประโยชน์ของการใช้ CALL  ของผู้เรียนโดยการถาม 2 คำถาม นั่นคือ ระบบ CALL  ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ภาษาหรือไม่ และก่อให้เกิดผลอย่างไร  ซึ่งจากการสำรวจก็พบว่า 89.6 % ของนักเรียนบอกว่า CALL มีประโยชน์ด้านการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ  92.9%  เป็นประโยชน์ด้านการอ่าน  93.5%  คิดว่าระบบมีประโยชน์ในการเรียนรู้ทักษะการเขียนได้เป็นอย่างดี  82.4%  เชื่อว่าระบบ CALL  มีประโยชน์ในการฝึกการสนทนาแต่ในภาพรวมแล้วนั้น ระบบ CALL  ช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะด้านไวยากรณ์ที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  



วันเสาร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2556

CAI กับการเรียนรู้ของคนไทย


CAI มาจากคำว่า "Computer Aided Instruction" หรือบางแหล่งอาจจะใช้คำว่า "Computer Assisted Insturction" โดยมีการใช้คำในภาษาไทยว่า "สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน" เป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยนำเอาสื่อคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการนำเสนอเนื้อหา เรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ซึ่งก็คือ สามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้
จริงๆ แล้วคำว่า "คอมพิวเตอร์ช่วยสอน" ไม่ได้มีความหมายที่ CAI แต่ยังรวมถึงคำอื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ได้แก่
  • CBT Computer Based Training
  • CBE Computer Based Education
  • CAL Computer Aissisted Learning
  • CMI Computer Managed Instruction
  • IMMCAI Interactive Multimedia CAI

วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556

ประโยชน์ของโปรแกรม CAI

สรุปประโยชน์ของ CAI ได้ดังนี้
  • สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
  • ดึงดูดความสนใจ โดยใช้เทคนิคการนำเสนอด้วยกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสียง สวยงามและเหมือนจริง
  • ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถเข้าใจเนื้อหาได้เร็ว ด้วยวิธีที่ง่ายๆ
  • ผู้เรียนมีการโต้ตอบ ปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ และบทเรียนฯ มีโอกาสเลือก ตัดสินใจ และได้รับการเสริมแรงจากการได้รับข้อมูลย้อนกลับทันที
  • ช่วยให้ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้สูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ซึ่งจะเรียนรู้ได้จากขั้นตอนที่ง่ายไปหายากตามลำดับ
  • ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความสนใจ และความสามารถของตนเอง บทเรียนมีความยืดหยุ่น สามารถเรียนซ้ำได้ตามที่ต้องการ
  • ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อคนเอง ต้องควบคุมการเรียนด้วยตนเอง มีการแก้ปัญหา และฝึกคิดอย่างมีเหตุผล
  • สร้างความพึงพอใจแก่ผู้เรียน เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียน
  • สามารถรับรู้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้อย่างรวดเร็ว เป็นการท้าทายผู้เรียน และเสริมแรงให้อยากเรียนต่อ
  • ให้ครูมีเวลามากขึ้นที่จะช่วยเหลือผู้เรียนในการเสริมความรู้ หรือช่วยผู้เรียนคนอื่นที่เรียนก่อน
  • ประหยัดเวลา และงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน โดยลดความจำเป็นที่จะต้องใช้ครูที่มีประสบการณ์สูง หรือเครื่องมือราคาแพง เครื่องมืออันตราย
  • ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในเมือง และชนบท เพราะสามารถส่งบทเรียนฯ ไปยังโรงเรียนชนบทให้เรียนรู้ได้ด้วย

วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556

Whole Language Approach

  • เรียนภาษาในลักษณะของภาพรวม
  • เข้าใจเนื้อหาทั้งหมดก่อนที่จะมารู้คำศัพท์/ไวยากรณ์
  • ความผิดพลาดที่ผู้เรียนมีเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้

Cooperative Learning

  • นักเรียนได้เรียนรู้กันเองในกลุ่ม
  • ครูสอนทักษะทางสังคม  เพื่อให้นักเรียนทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
  • การกระตุ้นให้นักเรียนคิดเป็นกลุ่ม
  • นักเรียนอยู่กลุ่มเดียวกันสักระยะหนึ่ง  เพื่อเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
  • ใช้ภาษาเป้าหมายในการทำงาน
  • อาศัยทักษะทางสังคม  ทำให้บทสนทนาราบรื่น

Task Based Instruction

  • การใช้ภาษาเพื่อทำงานชิ้นใดชิ้นหนึ่งให้สำเร็จ
  • ประเมินชิ้นงานที่สำเร็จ ( คล่องแคล่ว )  มากกว่าความถูกต้อง
  • พัฒนาภาษาเป้าหมายให้คล่องแคล่ว และเพิ่มความเชื่อมั่นให้นักเรียน
  • ก่อนที่จะให้เด็กทำงานต้องมีการซ้อมก่อน  เพื่อให้เด็กเห็นขั้นตอนจริงๆ
  • ผู้สอนใช้ภาษาอะไรก็ได้ที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจงานที่ต้องทำ


Content-Based Instruction

  • ภาษาอังกฤษเฉพาะกิจ  ใช้สำหรับการทำงานหรือการประกอบอาชีพ
  • การเรียนเนื้อหาวิชาต่างๆเป็นภาษาอังกฤษ
  • เนื้อหาของวิชาต่างๆถูกใช้เพื่อการเรียนรู้ภาษา
  • ผู้สอนต้องเริ่มจากง่ายๆไปยากๆ
  • เรียนคำศัพท์ในบริบทจะง่ายขึ้น
  • ใช้ภาษาเป้าหมาย

Using Story Jokes forReal Communication


Teaching in a monolingual/monocultural, non-English
speaking environment can at times be frustrating. You
want your students to genuinely communicate with each
other in socially acceptable ways, and at the same time become
more aware of cultural traits. For the former purpose,
the L1 naturally outstrips the L2 in communicative efficiency;
and, as regards the latter, the only way cultural experiences
unknown to the students can be introduced into
the classroom is by the teacher. Even when the explanation
of cultural and sociolinguistic skills is explicit, the students
are usually left practicing formulaic speech with other
members of the class whose reactions are not representative
of the L2 speakers and often not even natural. We are
quite familiar with stilted dialogues roleplayed by students
sounding something like this:
Would you be so kind as to lend me your pen?
Yes.
Thank you.
What is needed in a classroom is a reaction that is real
because it is spontaneous. This is where jokes and funny
stories (see Footnote 1 below) can come in handy. In a classroom
setting made up of students from the same linguistic
and cultural background, a laugh or a groan is at least a
more immediate and sincere response to a speech act than
the granting of an invented request or the acceptance of an
unowned apology.
1. Here I distinguish between “jokes,” which are usually two liners of
the “Why did the chicken cross the road?” variety, and “funny stories,”
which are also commonly called “jokes,” but which consist of more extended
narrative, drama, repetition, etc.
Funny stories are part of our linguistic heritage and
even follow certain recognized scenarios. “Have you heard
the one about the…” is often the opening; and the ending is
a laugh, an exaggerated groan, or even an apologetic “I don’t
get it.” Moreover, they are really common mini-narratives,
and they are meant to be told over and over again and so
lend themselves naturally to rephrasing—a “macro-drill”
that students rarely have the opportunity to perform in
class.


เรื่องราวที่มีความสนุกสนาน  ตลกขบขัน จะช่วยให้ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการตอบสนองเรื่องราวต่างๆได้เป็นอย่างดี

From : English  Teaching  Forum  2012,  Volume  50, Number  2

Using Letters to Tell Storiesin the EFL Classroom

Writing letters, or any writing
process, may be metaphorically
compared to
weaving (Broukal 2002). When we
weave stories, one thread may be our
personal life, another thread may be
our imagination, and other threads
may come from our social experiences
and how they affect us in some way or
another. In addition, writing as weaving
may be realised when we develop
a story within another story or piece
of writing. In this sense, our students
can weave stories through letters, for
example. In this article I share two
ways in which letters can be used to
tell stories with different groups of
learners, beginners and advanced, and
in so doing develop their English language
learning.
Based on some theoretical concepts
that connect English as a Foreign Language
(EFL) learning with authenticity
and communicative competence,
I will describe two activities I have
explored with secondary school learners.
The first activity is part of a lesson
that involves writing letters to introduce
oneself to a group of beginning
learners. The second activity, targeted
at advanced teenage learners, demonstrates
how an epistolary story—a
story told by a series of diary entries,
letters, or other types of writing—can
encourage creative writing and language
improvement. This activity may
be carried out during a long period of
time, and its end product is the collection
of epistolary stories.


เป็นการพัฒนาทักษะการเขียนเพื่อการปฏิสัมพันธ์  วัตถุประสงค์การเรียนรู้ยังเน้นความเกี่ยวข้องของการพัฒนาทักษะการเขียนที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ


From : English  Teaching  Forum  2011,  Volume  49, Number  4

Building Fluency through theRepeated Reading Method

Technique 1: Classic Oral Repeated
Reading
Oral Repeated Reading (ORR) is a technique
that is fun and easy to carry out and
that provides a window into readers’ ability
to integrate the skills associated with reading
fluently.


Technique 2: Paired Repeated Reading
The objectives of Paired Repeated Reading
(PRR) are similar to those of ORR. Both
focus on pronunciation and prosody (the
variation in loudness, pitch, and rhythm);
however, PRR includes a measure for selfand
peer-assessment.

Technique 3: Reader’s Theater
Reader’s Theater (RT) is the reading aloud
of a written text to communicate a story.


Technique 3: Reader’s Theater
Reader’s Theater (RT) is the reading aloud
of a written text to communicate a story.

ผู้ที่ไม่คล่องแคล่วในการอ่านมักจะอ่านได้ช้าและมีความแม่นยำน้อยกว่าผู้ที่อ่านคล่อง  ดังนั้นวิธีการที่ผลัดกันอ่านออกเสียงรอบห้องเรียนถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อช่วยให้ผู้เรียนปรับปรุงการอ่านให้คล่องแคล่วขึ้น


From :  English  Teaching  Forum  2011,  Volume  49, Number  3






The Roles of Assessment in Language Teaching


The Roles of
Assessment in
Language Teaching
BY JERROLD FRANK

Long before the first day of class or before a program
is proposed, we must decide how we intend to measure
outcomes and consider what role assessment will play in
instruction. Assessment is how we identify our learners’
needs, document their progress, and determine how we are
doing as teachers and planners. That being said, how do we
know we are doing it right? How do we know that the assessment
tools we are using measure what we intend them
to? If we are serious about getting the best snapshot of the
progress of our learners and the effectiveness of our programs,
these are questions that we must continually ask.
Assessment occurs in many contexts and is done for a
variety of reasons. The three archive articles chosen for this
issue all deal with different aspects of assessment. While
they do not answer every question, they should help you
consider how you use assessment in your own teaching.
Traditionally, the most common way to measure
achievement and proficiency in language learning has
been the test. Even though alternative forms of assessment
are growing in popularity, most teachers still use this old
standby. And while many teachers may be gifted in the
classroom, even the best may need some help in constructing
reliable test items. In the first article, Grant Henning
(1982) outlines twenty common errors in test construction
that language teachers should avoid. Henning’s article can
serve as a checklist for any of us who would like to construct
fair and reliable language tests.
In the second article, “Coming to Grips with Progress
Testing: Some Guidelines for its Design,” Carmen Pérez
Basanta (1995) discusses the role of progress testing in
the classroom and the importance of matching testing to
instruction. Basanta views testing as a tool that can help
teachers identify student strengths and weaknesses and
evaluate the effectiveness of their programs. In the article
Basanta discusses some theoretical requisites to ensure that
teachers design or choose tests that are practical, reliable,
and valid.
In recent years much has been made of alternative
forms of assessment. Whether we want to include student
portfolios or web-based testing in our curricula, our focus
should always be on gathering information that reflects
how well our students have learned what we tried to teach
them. In the third selection, “Purposeful Language Assessment:
Selecting the Right Alternative Test,” John Norris
(2000) provides an outline of the types of questions we
need to ask ourselves in order to best match alternative assessment
techniques to the appropriate language education
contexts.
Assessment is perhaps one of most difficult and important
parts of our jobs as teachers. Ideally, it should be seen as
a means to help us guide students on their road to learning.
No single procedure can meet the needs of all learners and
situations, so we need to remember to incorporate a variety
of tools to help our students know how they are progressing
and to gauge the effectiveness of our own methodology and
materials.

บทบาทของการประเมินผลในการสอนภาษา  ใช้ในกรณีการประเมินเพื่อทำความเข้าใจและระบุความต้องการของผู้เรียน


From : English  Teaching  Forum  2012,  Volume  50, Number  3